**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:
นำเสนอวิจัย
ปรางชมพู บุญชม นำเสนอเรื่อง : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดกิจกรรม
สรุปได้ว่า:วิจัยเรื่องนี้มี เครื่องมือ คือชุดแบบฝึก,แผนการจัดกิจกรรม,แบบประเมิน
วิธีการ...แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
แบบฝึกเรื่อง ธรรมชาติรอบตัว: การสังเกต เรื่องย่อย: เงา
จุดประสงค์
พัฒนาทักษะ การสังเกต การจำแนก การสื่อสาร และการลงความคิดเห็น
ตัวอย่างแผน
วิธีการ...แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
แบบฝึกเรื่อง ธรรมชาติรอบตัว: การสังเกต เรื่องย่อย: เงา
จุดประสงค์
พัฒนาทักษะ การสังเกต การจำแนก การสื่อสาร และการลงความคิดเห็น
ตัวอย่างแผน
ตัวอย่าง การประเมิน การสังเกต
ชนกานต์ แสนสุข นำเสนอเรื่อง: การพัฒนาการเรียนการสอนของครูปฐมวัยโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สรุปได้ว่า: วิจัยเรื่องนี้ได้จัดกิจกรรม มาเล่นสนุกกับน้ำกันเถอะ
วิธีการ...1. ครูเล่านิทาน เล่นริมน้ำ และให้เด็กพลัดกันออกมาเล่าประสบการณ์เดิม
2.ครูแบ่งกลุ่มเด็กเท่าๆกัน แจกขวดแชมพูให้กับทุกๆกลุ่ม กลุ่มละ 1 ขวด เปิดขวดใส่น้ำให้เต็ม
และตั้งคำถาม เช่น ลักษะของขวดเป็นอย่างไร
3.ให้เด็กเรียงแถวแล้วบีบขวด หลัดกันจนครบทุกคนภายในกลุ่ม (ในขั้นตอนนี้ สามารถเก็บข้อมูลเชิงสถิติได้โดยการตั้งเกณฑ์ ว่า ระยะของน้ำพุ่งออกไป ใกล้/ไกล)
4.ครูสนทนากับเด็กกับการบีบขวดใกล้-ไกลและสรุป กิจกรรม
อย่างแผนกิจกรรม ในดินมีอะไร
ขั้นนำ...
1.ครูแนะนำกิจกรรมในดินมีอะไร โดยครูใช้คำถามดังนี้
-รู้จักดินอะไรบ้าง
-เด็กๆคิดว่าในดินประกอบด้วยอะไรบ้าง (เด็กตอบแล้วทำเป็นแผนผังความคิด map)
-ดินแต่ละชนิดมีส่วนประกอบเหมือนกันหรือไม่
ขั้นสอน...
2.ให้เด็กสังเกตลักษณะของดินด้วยสายตา ดินทรายและดินร่วน
3.ให้เด็กจับ ดูสี ลักษณะ
4.เทน้ำใส่ดิน สัมผัสและลองขยำดูว่า ในดินมีอะไรเป็นส่วนประกอบ
5.เด็กได้ไปนำดินภายในโรงเรียนมาเปรียบเทียบความต่าง
ขั้นสรุป...
6.ครูและเด็กร่วมกันสรุปว่าดินประกอบด้วยอะไร
ตัวอย่างแบบทดสอบ
วิธีการ...1. ครูเล่านิทาน เล่นริมน้ำ และให้เด็กพลัดกันออกมาเล่าประสบการณ์เดิม
2.ครูแบ่งกลุ่มเด็กเท่าๆกัน แจกขวดแชมพูให้กับทุกๆกลุ่ม กลุ่มละ 1 ขวด เปิดขวดใส่น้ำให้เต็ม
และตั้งคำถาม เช่น ลักษะของขวดเป็นอย่างไร
3.ให้เด็กเรียงแถวแล้วบีบขวด หลัดกันจนครบทุกคนภายในกลุ่ม (ในขั้นตอนนี้ สามารถเก็บข้อมูลเชิงสถิติได้โดยการตั้งเกณฑ์ ว่า ระยะของน้ำพุ่งออกไป ใกล้/ไกล)
4.ครูสนทนากับเด็กกับการบีบขวดใกล้-ไกลและสรุป กิจกรรม
รัตนาภรณ์ บัวเลิง นำเสนอเรื่อง: การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
สรุปได้ว่า: การจัดกิจกรรมเพื่อการคิดวิจารณญาณ ได้แก่ การวิเคราะห์,การใช้เหตุผล,การสังเคราะห์,การประเมินค่าอย่างแผนกิจกรรม ในดินมีอะไร
ขั้นนำ...
1.ครูแนะนำกิจกรรมในดินมีอะไร โดยครูใช้คำถามดังนี้
-รู้จักดินอะไรบ้าง
-เด็กๆคิดว่าในดินประกอบด้วยอะไรบ้าง (เด็กตอบแล้วทำเป็นแผนผังความคิด map)
-ดินแต่ละชนิดมีส่วนประกอบเหมือนกันหรือไม่
ขั้นสอน...
2.ให้เด็กสังเกตลักษณะของดินด้วยสายตา ดินทรายและดินร่วน
3.ให้เด็กจับ ดูสี ลักษณะ
4.เทน้ำใส่ดิน สัมผัสและลองขยำดูว่า ในดินมีอะไรเป็นส่วนประกอบ
5.เด็กได้ไปนำดินภายในโรงเรียนมาเปรียบเทียบความต่าง
ขั้นสรุป...
6.ครูและเด็กร่วมกันสรุปว่าดินประกอบด้วยอะไร
ตัวอย่างแบบทดสอบ
การวิเคราะห์
การใช้เหตุผล
การสังเคาะห์
การประเมิน
การทำงานเป็นกลุ่ม ตามหน่วยการเรียนรู้
หน่วย ร่างกาย
-การวางแผนในการ cooking ขนมโค
**skills**
-การวิเคราะห์ข้อมูล
-มีการตอบคำถาม
-การจดบันทึก
-การนำเสนอ
-การวางแผน
-การหาข้อมูล
**Teaching methods**
-บรรยาย
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-เพื่อนำความรู้จากการฟังการนำเสนอวิจัย ในเรื่องของแผนการจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์ไปใช้ในการออกแบบในเขียนแผนกิจกรรม
**The atmosphere in the classroom**
บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุดเพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น
วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนและจดบันทึกในขณะเรียน
เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน
อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนฝึกให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และระดมความร่วมกัน และมีการใช้คำถาม ถามกับนักศึกษาเสมอเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้พูดในสิ่งที่เข้าใจออกมาให้อาจารย์และพื่อนๆในห้อง และเมื่อพูดจบอาจารย์จะมีการเสริมความรู้ให้ทุกครั้ง เพื่อให้นักศึกษาเข้ามากยิ่งขึ้น และบอกข้อบกพร่องของนักศึกษาเพื่อให้ไปปรับปรุงแก้ไข
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น