วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

วิจัย Researc

สรุปวิจัย 

Research Highlights

เรื่อง
ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
The learning along the permission of the sufficiency economy philosophy with science-based skills of preschool children.
ปริญญานิพนธ์
สำรวย สุขชัย
เสนอต่อบัญฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาการศึกษาปฐมวัย 2554

          วิจัยเรื่องนี้มีการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์โดยกลุ่มตัวอย่างคือเด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุ 5-6ปี ชั้นอนุบาล2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนวัดยางสุทธาราม จำนวน 27 คน
        โดยใช้เครื่องมือในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแบบทfสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ขอยกตัวอย่างแผนการสอนสาระการเรียนรู้หน่วย ร่างกาย

        สรุปว่าวิจัยนี้ได้ศึกษาทักษะวิทยาศาสตร์พื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยก่อนการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับพอใช้และหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมากซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นสูง อาจเป็นเพราะว่าการจัดการเรียนรู้ภายใต้กรอบแนวคิด 3 หลัก 2 เงื่อนไข ประกอบด้วยความพอประมาณ มีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกัน และเงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม นำมาส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และจัดเตรียมอุปกรณ์ที่หลากหลาย การเรียนณุ้ทั้งในและนอกสถานที่ ด้วยการสังเกต สำรวจ บันทึกการเรียนรู้ สนทนาชักถาม และแสดงความคิดเห็น อภิปรายในเรื่องต่างๆที่สนใจ




วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/24/11/2558

Lesson 13
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:
การนำเสนอบทความ
Presentation Articles
รัชดา เทพเรียน: เรื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตร์จำเป็นหรือไม่
             ความรู้ที่ได้....พบว่าครูที่สอนวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กจะเป็นเนื้อหาโดยการบอกเล่าซึ่งเหมาะสำหรับเด็กปฐมวัย เพราะ เนื้อหาเป็นนามปธรรมเด็กเข้าใจยาก  และการบอกเล่าไม่ใช่วิธีการเรียนรู้ของเด็ก ดังนั้น  สสวท กรอบมาตรฐานไว้ดังนี้
 และครูผู้สอนสามารถนำไปบูรณาการในสาระที่ควรเรียนรู้

ชนาภา คปัญญา: เรื่องการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
              ความรู้ที่ได้....
                                      
                                       

การนำเสนอวิจัย
Research Presentation
ประภัสร คำบอนพิทักษ์: เรื่องการพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานโดยใช้กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
                 ความรู้ที่ได้... ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรม


จงรักษ์: เรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยได้รับจัดกระบวนการนอกห้องเรียน
ความรู้ที่ได้...ใช้แผนการจัดกิจกรรม กระบวนทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
กิจกรรม แว่นขยายเห็นชัดเจน 
วัตถุประสงค์: ฝึกทักษะการสังเกต,ทักษะการจำแนก,การเปรีบยเทียบ




**skills**
-การวิเคราะห์
-การฟัง
-การตอบคำถาม
-การระดมความคิด
-การสรุป

**Teaching methods**
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-การสรุป

**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากกบทความ วิจัย และโทรทัศน์ ไปใช้ไม่ว่าจะเป็น เทคนิคการสอน แผนการสอนไปประยุกต์ใช้ในการเขียนแผนจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิดร่วมกับเพื่อนและอาจารย์ผู้สอนและเป็นผู้ฟังที่ดี

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน เพื่อนบางส่วนที่นำเสนอมีการบกพร่องในการเตรียมเนื้อหาที่จะมานำเสนอและการสื่อสารให้เพื่อนฟัง


**Instructor Rating**
       อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาได้นำเสนอความรู้จากบทความ วิจัยและโทรทัศน์ครู ฝึกการฟังและตั้งคำถาม และสรุปผลหลังจากเสร็จสิ้นการนำเสนอ และยังให้คำแนะนำเสริมความรู้ให้กับนักศึกษาอีกด้วย



วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/16/11/2558

Lesson 13
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:
 กระบวนการวิทยาศาสตร์จะเป็นการ กำหนดปัญหา define the problem 
ในฐานที่3 ว่า"จะทำอย่างไห้แป้งกินได้"

และตั้งสมมติฐาน assume  "ถ้าเอาแป้งลงเตาจะเกิดอะไรขึ้น" แล้วรวบรวมข้อมูล data collection จากการสังเกต การเปลี่ยนแปลง สี ขนาด รูปทรง และสุดท้ายสรุป concludeว่าแป้งที่ลอยขึ้นแสดงว่าสุกและตักขึ้นมาคลุกกับมะพร้าว

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทำข้าวจี่ คือ กำหนดปัญหา  define the problemในขั้นที่4 
ว่า "เด็กคิดว่าจะทำอย่างไรให้ไข่สุก"
แล้วตั้งสมมติฐาน assume "ถ้าเด็กๆนำไปปิ้งจะเป็นอย่างไร" และลงมือทดลอง the experiment 
ดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงของ
สี กลิ่น ขนาด เป็นต้น และสรุป conclude เมื่อข้าวและไข่นั้นสุกกลายเป็นข้าวจี่เป็นแผนภูมิกราฟฟิกได้


กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทำของหวานซึ่งจะทำเป็นกลุ่ม ซึ่งจะ
กำหนดปัญหา define the problemใน
ขั้นตอนที่4 ว่า "จะทำอย่างไรให้น้ำหวานเป็นหวานเย็น แล้วตั้งสมมติฐาน  assume ว่า 
"เด็กๆลองคนสิจะเกิดอะไรขึ้น" แล้วทดลองและสังเกต the experiment and observation
การเปลี่ยนแปลงของน้ำหวาน
เมื่อน้ำหวานกลายเป็นหวานเย็นเด็กๆและครูร่วมกันสรุป conclude


**skills**
-การลงมือปฏิบัติ
-การสังเกต
-การหาข้อมูล
-การตั้งสมมติฐาน
-การวิเคราะห์
-การทำงานเป็นลำดับขั้นตอน
-การสรุป

**Teaching methods**
-บรรยาย
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-การสรุป

**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากการทำ Cooking ไปจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ร่วมทำกิจกรรม Cooking อย่างสนุกสนาน

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน


**Instructor Rating**


         อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง ฝึกการสังเกต ทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอน และสรุปผลหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม และยังให้คำแนะนำเสริมความรู้ให้กับนักศึกษาอีกด้วย

วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/10/11/2558

Lesson 12
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:

เนื้อหา /Content :

1.ขนมทาโกยากินเป็นอาหาร
2.วิธีขั้นตอนการทำขนม


ซึ่งมีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ scientific process และ
ทักษะวิทยาศาสตร์Science skills ในการลงมือปฏิบัติ


                                              


**skills**
-การลงมือปฏิบัติ
-การสังเกต
-การหาข้อมูล
-การตั้งสมมติฐาน
-การวิเคราะห์
-การทำงานเป็นลำดับขั้นตอน
-การสรุป

**Teaching methods**
-บรรยาย
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-การสรุป

**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากการทำ Cooking ไปจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ร่วมทำกิจกรรม Cooking อย่างสนุกสนาน

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน


**Instructor Rating**


         อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง ฝึกการสังเกต ทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอน และสรุปผลหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม และยังให้คำแนะนำเสริมความรู้ให้กับนักศึกษาอีกด้วย

วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/3/11/2558

Lesson 11
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:

วิเคราะห์แผนจัดประสบการณ์การทดลองวิทยาศาสตร์และการทำอาหาร
 ของแต่ละหน่วย
ได้แก่ 1.หน่วยยานพาหนะ
2.ร่างกายของฉัน
3.ชุมชนของฉัน
4.ต้นไม้แสนรัก
(มีการปรับปรุงแก้ไข และเพิ่มเติมในแผนและแผนภูมิกราฟฟิก)

เนื้อหา:










**skills**
-การระดมความคิดและแสดงความคิดเห็น
-การวิเคราะห์ข้อมูล
-มีการตอบคำถาม
-การจดบันทึก
-การหาข้อมูล
-การสังเกต
-การตั้งสมมติฐาน
-การวิเคราะห์

**Teaching methods**
-บรรยาย
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-การเขียนแผนภูมิกราฟฟิก

**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากการวิเคราะห์แผนจัดประประสบการณ์ไปปรับปรุงและเพิ่มเติมให้สมบูรณ์เพื่อใช้ในการทดลองสอน

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนและจดบันทึกในขณะเรียน

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน


**Instructor Rating**
         อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนฝึกให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และระดมความร่วมกัน และมีการใช้คำถาม  สังเกต ถามกับนักศึกษาเสมอเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้พูดในสิ่งที่เข้าใจออกมาให้อาจารย์และพื่อนๆในห้อง และเมื่อพูดจบอาจารย์จะมีการเสริมความรู้ให้ทุกครั้ง เพื่อให้นักศึกษาเข้ามากยิ่งขึ้น และบอกข้อบกพร่องของนักศึกษาเพื่อให้ไปปรับปรุงแก้ไข