วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

วิจัย Researc

สรุปวิจัย 

Research Highlights

เรื่อง
ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
The learning along the permission of the sufficiency economy philosophy with science-based skills of preschool children.
ปริญญานิพนธ์
สำรวย สุขชัย
เสนอต่อบัญฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาการศึกษาปฐมวัย 2554

          วิจัยเรื่องนี้มีการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์โดยกลุ่มตัวอย่างคือเด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุ 5-6ปี ชั้นอนุบาล2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนวัดยางสุทธาราม จำนวน 27 คน
        โดยใช้เครื่องมือในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแบบทfสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ขอยกตัวอย่างแผนการสอนสาระการเรียนรู้หน่วย ร่างกาย

        สรุปว่าวิจัยนี้ได้ศึกษาทักษะวิทยาศาสตร์พื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยก่อนการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับพอใช้และหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมากซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นสูง อาจเป็นเพราะว่าการจัดการเรียนรู้ภายใต้กรอบแนวคิด 3 หลัก 2 เงื่อนไข ประกอบด้วยความพอประมาณ มีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกัน และเงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม นำมาส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และจัดเตรียมอุปกรณ์ที่หลากหลาย การเรียนณุ้ทั้งในและนอกสถานที่ ด้วยการสังเกต สำรวจ บันทึกการเรียนรู้ สนทนาชักถาม และแสดงความคิดเห็น อภิปรายในเรื่องต่างๆที่สนใจ




วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/24/11/2558

Lesson 13
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:
การนำเสนอบทความ
Presentation Articles
รัชดา เทพเรียน: เรื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตร์จำเป็นหรือไม่
             ความรู้ที่ได้....พบว่าครูที่สอนวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กจะเป็นเนื้อหาโดยการบอกเล่าซึ่งเหมาะสำหรับเด็กปฐมวัย เพราะ เนื้อหาเป็นนามปธรรมเด็กเข้าใจยาก  และการบอกเล่าไม่ใช่วิธีการเรียนรู้ของเด็ก ดังนั้น  สสวท กรอบมาตรฐานไว้ดังนี้
 และครูผู้สอนสามารถนำไปบูรณาการในสาระที่ควรเรียนรู้

ชนาภา คปัญญา: เรื่องการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
              ความรู้ที่ได้....
                                      
                                       

การนำเสนอวิจัย
Research Presentation
ประภัสร คำบอนพิทักษ์: เรื่องการพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานโดยใช้กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
                 ความรู้ที่ได้... ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรม


จงรักษ์: เรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยได้รับจัดกระบวนการนอกห้องเรียน
ความรู้ที่ได้...ใช้แผนการจัดกิจกรรม กระบวนทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
กิจกรรม แว่นขยายเห็นชัดเจน 
วัตถุประสงค์: ฝึกทักษะการสังเกต,ทักษะการจำแนก,การเปรีบยเทียบ




**skills**
-การวิเคราะห์
-การฟัง
-การตอบคำถาม
-การระดมความคิด
-การสรุป

**Teaching methods**
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-การสรุป

**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากกบทความ วิจัย และโทรทัศน์ ไปใช้ไม่ว่าจะเป็น เทคนิคการสอน แผนการสอนไปประยุกต์ใช้ในการเขียนแผนจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิดร่วมกับเพื่อนและอาจารย์ผู้สอนและเป็นผู้ฟังที่ดี

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน เพื่อนบางส่วนที่นำเสนอมีการบกพร่องในการเตรียมเนื้อหาที่จะมานำเสนอและการสื่อสารให้เพื่อนฟัง


**Instructor Rating**
       อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาได้นำเสนอความรู้จากบทความ วิจัยและโทรทัศน์ครู ฝึกการฟังและตั้งคำถาม และสรุปผลหลังจากเสร็จสิ้นการนำเสนอ และยังให้คำแนะนำเสริมความรู้ให้กับนักศึกษาอีกด้วย



วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/16/11/2558

Lesson 13
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:
 กระบวนการวิทยาศาสตร์จะเป็นการ กำหนดปัญหา define the problem 
ในฐานที่3 ว่า"จะทำอย่างไห้แป้งกินได้"

และตั้งสมมติฐาน assume  "ถ้าเอาแป้งลงเตาจะเกิดอะไรขึ้น" แล้วรวบรวมข้อมูล data collection จากการสังเกต การเปลี่ยนแปลง สี ขนาด รูปทรง และสุดท้ายสรุป concludeว่าแป้งที่ลอยขึ้นแสดงว่าสุกและตักขึ้นมาคลุกกับมะพร้าว

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทำข้าวจี่ คือ กำหนดปัญหา  define the problemในขั้นที่4 
ว่า "เด็กคิดว่าจะทำอย่างไรให้ไข่สุก"
แล้วตั้งสมมติฐาน assume "ถ้าเด็กๆนำไปปิ้งจะเป็นอย่างไร" และลงมือทดลอง the experiment 
ดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงของ
สี กลิ่น ขนาด เป็นต้น และสรุป conclude เมื่อข้าวและไข่นั้นสุกกลายเป็นข้าวจี่เป็นแผนภูมิกราฟฟิกได้


กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทำของหวานซึ่งจะทำเป็นกลุ่ม ซึ่งจะ
กำหนดปัญหา define the problemใน
ขั้นตอนที่4 ว่า "จะทำอย่างไรให้น้ำหวานเป็นหวานเย็น แล้วตั้งสมมติฐาน  assume ว่า 
"เด็กๆลองคนสิจะเกิดอะไรขึ้น" แล้วทดลองและสังเกต the experiment and observation
การเปลี่ยนแปลงของน้ำหวาน
เมื่อน้ำหวานกลายเป็นหวานเย็นเด็กๆและครูร่วมกันสรุป conclude


**skills**
-การลงมือปฏิบัติ
-การสังเกต
-การหาข้อมูล
-การตั้งสมมติฐาน
-การวิเคราะห์
-การทำงานเป็นลำดับขั้นตอน
-การสรุป

**Teaching methods**
-บรรยาย
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-การสรุป

**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากการทำ Cooking ไปจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ร่วมทำกิจกรรม Cooking อย่างสนุกสนาน

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน


**Instructor Rating**


         อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง ฝึกการสังเกต ทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอน และสรุปผลหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม และยังให้คำแนะนำเสริมความรู้ให้กับนักศึกษาอีกด้วย

วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/10/11/2558

Lesson 12
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:

เนื้อหา /Content :

1.ขนมทาโกยากินเป็นอาหาร
2.วิธีขั้นตอนการทำขนม


ซึ่งมีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ scientific process และ
ทักษะวิทยาศาสตร์Science skills ในการลงมือปฏิบัติ


                                              


**skills**
-การลงมือปฏิบัติ
-การสังเกต
-การหาข้อมูล
-การตั้งสมมติฐาน
-การวิเคราะห์
-การทำงานเป็นลำดับขั้นตอน
-การสรุป

**Teaching methods**
-บรรยาย
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-การสรุป

**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากการทำ Cooking ไปจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ร่วมทำกิจกรรม Cooking อย่างสนุกสนาน

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน


**Instructor Rating**


         อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง ฝึกการสังเกต ทำงานอย่างเป็นลำดับขั้นตอน และสรุปผลหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม และยังให้คำแนะนำเสริมความรู้ให้กับนักศึกษาอีกด้วย

วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/3/11/2558

Lesson 11
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:

วิเคราะห์แผนจัดประสบการณ์การทดลองวิทยาศาสตร์และการทำอาหาร
 ของแต่ละหน่วย
ได้แก่ 1.หน่วยยานพาหนะ
2.ร่างกายของฉัน
3.ชุมชนของฉัน
4.ต้นไม้แสนรัก
(มีการปรับปรุงแก้ไข และเพิ่มเติมในแผนและแผนภูมิกราฟฟิก)

เนื้อหา:










**skills**
-การระดมความคิดและแสดงความคิดเห็น
-การวิเคราะห์ข้อมูล
-มีการตอบคำถาม
-การจดบันทึก
-การหาข้อมูล
-การสังเกต
-การตั้งสมมติฐาน
-การวิเคราะห์

**Teaching methods**
-บรรยาย
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-การเขียนแผนภูมิกราฟฟิก

**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากการวิเคราะห์แผนจัดประประสบการณ์ไปปรับปรุงและเพิ่มเติมให้สมบูรณ์เพื่อใช้ในการทดลองสอน

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนและจดบันทึกในขณะเรียน

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน


**Instructor Rating**
         อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนฝึกให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และระดมความร่วมกัน และมีการใช้คำถาม  สังเกต ถามกับนักศึกษาเสมอเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้พูดในสิ่งที่เข้าใจออกมาให้อาจารย์และพื่อนๆในห้อง และเมื่อพูดจบอาจารย์จะมีการเสริมความรู้ให้ทุกครั้ง เพื่อให้นักศึกษาเข้ามากยิ่งขึ้น และบอกข้อบกพร่องของนักศึกษาเพื่อให้ไปปรับปรุงแก้ไข

วันอังคารที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/27/10/2558

Lesson 10
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:

กิจกรรมที่1 

สอนเรื่องคุณสมบัติของน้ำ

วิธีการ:
1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 - 5 คน ให้แต่ละกลุ่ม 
2.ให้พับกระดาษเป็น 4 ส่วน แล้วตัดเป็นรูปกลีบดอกไม้ พร้อมกับระบายสีให้สวยงามและพับเก็บกลีบทั้ง4 กลีบ แล้วส่งตัวแทนในกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ตักน้ำใส่ถาดมากลุ่มละ 1 ถาด ให้สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนนำดอกไม้ของตนเองที่ทำไว้ ลอยลงไปในถาดพร้อมๆกัน จากนั้นสังเกตและบันทึกผล

สังเกตได้ว่า:
 เมื่อวางดอกไม้ลงดอกไม้จะค่อยๆบานออกเรื่อยๆ ซึ่งดอกไม้ของแต่ละคนจะบานช้า-เร็วแตกต่างกันออกไป

กิจกรรมที่2 
สอนเรื่องแรงดันของน้ำ
วิธีการ:
1.ใส่น้ำให้เต็มขวดและปิดรูทั้ง 3 รู
2.เปิดรูตามรูปแลัวสังเกตว่ารูไหนน้ำพุ่งได้ไกลที่สุด
สังเกตได้ว่า:
รูที่น้ำพุ่งได้ไกลที่สุด คือ รูล่างสุด เพราะ มีแรงดันน้ำมากกว่ารูอื่น


กิจกรรมที่3 
เป็นการสอนเรื่อง อากาศ,น้ำและการไหลของน้ำจากที่สูงลงที่ต่ำ
อุปกรณ์:
1.ขวดน้ำ
2.สายยาง
3.ฐานดินน้ำมันต่อกับสายยาง

วิธีการ:
1.เทน้ำใส่ขวดให้เต็มขวด
2.สังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น
3.นำฐานดินน้ำมันยกต่ำกว่าขวดน้ำและสังเกตการเปลี่ยนแปลง

สังเกตได้ว่า:
เมื่อเทน้ำใส่ขวดจนเต็มน้ำจะไหลผ่านสายยางและพุ่งจากฐานดินน้ำมัน และเมื่อยกฐานดินน้ำมันให้อยู่ต่ำกว่าระดับเดิม น้ำยิ่งพุ่งได้แรงและไกลกว่าเดิม

กิจกรรมที่4 ลูกยางกระดาษ
อุปกรณ์:
1.กระดาษ
2.คลิบหนีบกรดาษ

วิธีการ:
1.ตัดกระดาษให้ได้ขนาด ดังรูปที่1และพักครึ่งตามรอยปะ
2.คลี่กระดาษออกและตัดตามรอยปะ ดังรูปที่2
3.พับเก็บด้านบน เมื่อเก็บเสร็จแล้วจะเป็น ดังรูปที่4
4.พับส่วนที่ตัดให้ข้างหนึ่งพับไปด้านซ้าย อีกด้านพับไปด้านขวา ดังรูปที่5 
5.ใช้คลิบหนีบส่วนที่พับเก็บทดลองโดยการ
6.โยนและสังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น

สังเกตได้ว่า:
เมื่อนำกระดาษลูกยางโยนขึ้น กระดาษลูกยางจะหล่นลงเป็นเกลี้ยว


กิจกรรม 5ไหมพรมเต้นระบำ
สอนเรื่องลม
อุปกรณ์:
1.หลอดดูดน้ำ
2.ไหมพรม

วิธีการ:
1.นำไหมพรมร้อยใส่ในหลอดดูดน้ำแล้วมัดปม
2.เป่าหลอดด้านใดด้านหนึ่งและสังเกตว่าเกิดอะไรขึ้นกับไหมพรม

สังเกตได้ว่า:
เมื่อเป่ารมเข้าไปในหลอดไหมพรมจะรอยตัวขึ้นและเคลื่อนที่ ยิ่งเป่าแรงมากเท่าไรไหมพรมก็จะยิ่งรอยตัวและเคลื่อนที่ได้ดี



**skills**
-การระดมความคิดและแสดงความคิดเห็น
-การวิเคราะห์ข้อมูล
-มีการตอบคำถาม
-การจดบันทึก
-การหาข้อมูล
-การสังเกต
-การตั้งสมมติฐาน
-การวิเคราะห์
-การลงมือปฏิบัติ
-การทดลอง

**Teaching methods**
-บรรยาย
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
-การยกตัวอย่างกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์

**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากการทำกิจกรรม ทั้ง5กิจกรรม เป็นกิจกรรมในการจัดประสบการณ์ในเรื่องวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนและจดบันทึกในขณะเรียน

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน


**Instructor Rating**
         อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนฝึกให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และระดมความร่วมกัน และมีการใช้คำถาม  สังเกต ถามกับนักศึกษาเสมอเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้พูดในสิ่งที่เข้าใจออกมาให้อาจารย์และพื่อนๆในห้อง และเมื่อพูดจบอาจารย์จะมีการเสริมความรู้ให้ทุกครั้ง เพื่อให้นักศึกษาเข้ามากยิ่งขึ้น และบอกข้อบกพร่องของนักศึกษาเพื่อให้ไปปรับปรุงแก้ไข



วันอังคารที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันอังคาร/20/10/2558

Lesson 10
**The knowledge gained**
กิจกรรม/ Activity:

นำเสนอวิจัย

ปรางชมพู บุญชม นำเสนอเรื่อง : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดกิจกรรม
      สรุปได้ว่า:วิจัยเรื่องนี้มี เครื่องมือ คือชุดแบบฝึก,แผนการจัดกิจกรรม,แบบประเมิน
วิธีการ...แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
              แบบฝึกเรื่อง ธรรมชาติรอบตัว: การสังเกต เรื่องย่อย: เงา
จุดประสงค์ 
           พัฒนาทักษะ การสังเกต การจำแนก การสื่อสาร และการลงความคิดเห็น
ตัวอย่างแผน
ตัวอย่าง การประเมิน การสังเกต

           
ชนกานต์ แสนสุข นำเสนอเรื่อง: การพัฒนาการเรียนการสอนของครูปฐมวัยโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
      สรุปได้ว่า: วิจัยเรื่องนี้ได้จัดกิจกรรม มาเล่นสนุกกับน้ำกันเถอะ
วิธีการ...1. ครูเล่านิทาน เล่นริมน้ำ และให้เด็กพลัดกันออกมาเล่าประสบการณ์เดิม
             2.ครูแบ่งกลุ่มเด็กเท่าๆกัน แจกขวดแชมพูให้กับทุกๆกลุ่ม กลุ่มละ 1 ขวด เปิดขวดใส่น้ำให้เต็ม
                และตั้งคำถาม เช่น ลักษะของขวดเป็นอย่างไร
             3.ให้เด็กเรียงแถวแล้วบีบขวด หลัดกันจนครบทุกคนภายในกลุ่ม (ในขั้นตอนนี้ สามารถเก็บข้อมูลเชิงสถิติได้โดยการตั้งเกณฑ์ ว่า ระยะของน้ำพุ่งออกไป ใกล้/ไกล)
             4.ครูสนทนากับเด็กกับการบีบขวดใกล้-ไกลและสรุป กิจกรรม

รัตนาภรณ์ บัวเลิง นำเสนอเรื่อง: การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
    สรุปได้ว่า: การจัดกิจกรรมเพื่อการคิดวิจารณญาณ ได้แก่ การวิเคราะห์,การใช้เหตุผล,การสังเคราะห์,การประเมินค่า
อย่างแผนกิจกรรม ในดินมีอะไร
ขั้นนำ...
               1.ครูแนะนำกิจกรรมในดินมีอะไร โดยครูใช้คำถามดังนี้
               -รู้จักดินอะไรบ้าง
               -เด็กๆคิดว่าในดินประกอบด้วยอะไรบ้าง (เด็กตอบแล้วทำเป็นแผนผังความคิด map)
               -ดินแต่ละชนิดมีส่วนประกอบเหมือนกันหรือไม่
ขั้นสอน...
               2.ให้เด็กสังเกตลักษณะของดินด้วยสายตา ดินทรายและดินร่วน
               3.ให้เด็กจับ ดูสี ลักษณะ
               4.เทน้ำใส่ดิน สัมผัสและลองขยำดูว่า ในดินมีอะไรเป็นส่วนประกอบ
               5.เด็กได้ไปนำดินภายในโรงเรียนมาเปรียบเทียบความต่าง
ขั้นสรุป...
              6.ครูและเด็กร่วมกันสรุปว่าดินประกอบด้วยอะไร
ตัวอย่างแบบทดสอบ
การวิเคราะห์
การใช้เหตุผล
การสังเคาะห์
การประเมิน


การทำงานเป็นกลุ่ม ตามหน่วยการเรียนรู้
 หน่วย ร่างกาย
-การวางแผนในการ cooking ขนมโค



**skills**
-การระดมความคิดและแสดงความคิดเห็น
-การวิเคราะห์ข้อมูล
-มีการตอบคำถาม
-การจดบันทึก
-การนำเสนอ
-การวางแผน
-การหาข้อมูล


**Teaching methods**
-บรรยาย
-คำถาม
-การคิดวิเคราะห์และระดมความคิด
-การเสริมความรู้
-การเป็นแบบอย่าง ยกตัวอย่าง
-การนำเสนอหน้าชั้นเรียน


**Apply**
-เพื่อนำความรู้จากการฟังการนำเสนอวิจัย ในเรื่องของแผนการจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์ไปใช้ในการออกแบบในเขียนแผนกิจกรรม

**The atmosphere in the classroom**
       บรรยากาศภายในห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อากาศเย็นสบาย อุปกรณ์และสื่อไม่ชำรุด
เพื่อนๆในห้องมีส่วนร่วมในการเรียนในการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นทำให้บรรยากาศภายในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้น


**Self-Assessment**
         วันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ระดมความคิด และ ตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอนและจดบันทึกในขณะเรียน

**Rating friends**
       เพื่อนในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการตอบคำถามและระดมความคิดช่วยกัน ทำให้บรรยากาศภายในห้องน่ารียน


**Instructor Rating**


    อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ อาจารย์ผู้สอนฝึกให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และระดมความร่วมกัน และมีการใช้คำถาม ถามกับนักศึกษาเสมอเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสได้พูดในสิ่งที่เข้าใจออกมาให้อาจารย์และพื่อนๆในห้อง และเมื่อพูดจบอาจารย์จะมีการเสริมความรู้ให้ทุกครั้ง เพื่อให้นักศึกษาเข้ามากยิ่งขึ้น และบอกข้อบกพร่องของนักศึกษาเพื่อให้ไปปรับปรุงแก้ไข